วงจรไฟฟ้าภายในบ้านที่มีหลายวงจร
สายวงจรย่อย
สายวงจรย่อย คือสายไฟฟ้าที่เดินจากอุปกร
- สายวงจรย่อยต้องใช้สายตัวนำ
ทองแดงมีฉนวนหุ้ม เช่นสาย 60227 IEC 01 (THW) หรือ VAF เป็นต้น
สายไฟชนิดต่างๆ สามารถดูได้ที่ https://www.pdcable.com/product-building-and-constr uction/ - ต้องคำนวณโหลดของวงจรย่อยแต
่ละวงจรเพื่อหาขนาดตัวนำสาย วงจรย่อย แต่ทั้งนี้ขนาดต้องไม่เล็กก ว่า 2.5 ตร.มม. - ขนาดตัวนำสายวงจรย่อยที่แนะ
นำสำหรับบ้านพักอาศัยทั่วไป เป็นดังนี้ 3.1 วงจรย่อยสำหรับเต้ารับ ที่จ่ายให้เต้ารับหลายจุด ควรใช้ขนาดตัวนำ 4 ตร.มม. ขึ้นไป
3.2 วงจรย่อยสำหรับดวงโคม ขนาดตัวนำ 2.5 ตร.มม. ขึ้นไป ควรกำหนดวงจรย่อยแยกสำหรับเครื่องปรับอากาศ
และเครื่องทำน้ำอุ่นแต่ละเครื่อง - สีฉนวนของสายวงจรย่อยกรณีใช
้สาย 60227 IEC 01 (THW)
4.1 สายเส้นไฟ : ไม่บังคับ สามารถใช้สีแตกต่างกันสำหรับแต่ละวงจรย่อยเพื่อความสะด วกในการแยกวงจร แต่ห้ามใช้สีฟ้า สีเขียว และสีเขียวแถบเหลือง
4.2 สายนิวทรัล : สีฟ้า
4.3สายดิน : สีเขียว หรือสีเขียวแถบเหลือง
ข้อมูลสีฉนวนของสายไฟสามารถดูได้ที่https://goo.gl/oZoNZQ - กรณีบ้านสองชั้นขึ้นไป ต้องแยกวงจรย่อย อย่างน้อยชั้นละ 1 วงจร
-
สำหรับวงจรย่อยของชั้นล่าง แนะนำให้แบ่งวงจรย่อยอย่างน้อยดังนี้ 6.1 ไฟฟ้าแสงสว่างภายในอาคาร 6.2 เต้ารับภายในอาคาร 6.3 เต้ารับภายนอกอาคาร
ตางรางขนาดสายไฟฟ้าที่เหมาะสมสำหรับวงจรภายในบ้าน
ขนาดของสายไฟฟ้าสำหรับวงจรไฟฟ้าภายในบ้าน
7. สายที่แยกจากจุดต่อสายวงจรย
8.สายที่แยกจากจุดต่อสายวงจรย
9. สายนิวทรัลใช้สีฟ้า และเลือกขนาดเท่ากับสายเฟส
(สายเส้นไฟ)
10. ขนาดต่ำสุดของสายต่อหลักดิน
11..ขนาดต่ำสุดของสายดินของวงจร
อย่างไรก็ตาม การเลือกขนาดสายไฟฟ้าสำหรั
โดยต้องคำนึงเสมอว่า พิกัดกระแสไฟฟ้าของสายที่เ
เพราะเมื่อเกิดภาวะโหลดเกิน
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม Line@ :@phelpsdodge_th
www.pdcable.com
YouTube : https://goo.gl/UXr3eF
#PhelpsDodge #สายไฟคุณภาพสูง
#มาตรฐานความปลอดภัย #ระดับโลก
#Safety #Lifeline #ทุกสายคือชีวิต